เชิงอรรถและอ้างอิง ของ เฮนรี กุสตาฟ โมไลสัน

  1. 1 2 เฮนรี กุสตาฟ โมไลสัน หรือที่รู้จักเกือบตลอดทั้งชีวิตของเขาว่า H.M. เพื่อพิทักษ์ความส่วนตัวของเขากลายเป็นคนไข้ที่ได้รับการศึกษามากที่สุดในประวัติวิทยาศาสตร์สมองหลังจากปี ค.ศ. 1953เมื่อการผ่าตัดสมองเชิงทดลองได้ทำให้เขาไม่สามารถสร้างความจำเชิงประกาศใหม่ ๆ ในเวลาที่เขามีอายุ 27 ปี... หลังจากทำการทดลองเล่นเกมแก้ปัญหาซ้ำ ๆ กัน ชายผู้สูญเสียความจำผู้นี้ก็ได้เรียนรู้ที่จะให้คำตอบที่ถูกต้องคุณหมอสก็อตโกได้กล่าวว่า "เราพบว่าเขาสามารถเรียนรู้ข้อมูลความจริงใหม่ ๆ ถ้าเขามีอะไรในความจำอยู่แล้วที่จะใช้เป็นตัวช่วยยึดความจำใหม่" --- จาก Benedict Carey (December 6, 2010). "No Memory, but He Filled In the Blanks". New York Times. สืบค้นเมื่อ 2008-12-05.
  2. 1 2 ในปี ค.ศ. 1953 เขาได้รับการผ่าตัดสมองเชิงทดลองในเมืองฮาร์ตเฟิร์ดเพื่อแก้ปัญหาเกี่ยวกับการชักแต่กลับฟื้นขึ้นมามีความเปลี่ยนแปลงไปอย่างสิ้นเชิงโดยแก้ไขอะไรไม่ได้คือ เขาเกิดอาการที่ประสาทแพทย์เรียกว่าภาวะเสียความจำ (amnesia) อย่างลึกซึ้งกล่าวคือ เขาได้สูญเสียสมรรถภาพในการสร้างความจำเชิงประกาศใหม่ ๆ ---จาก Benedict Carey (December 4, 2008). "H. M., an Unforgettable Amnesiac, Dies at 82". New York Times. สืบค้นเมื่อ 2008-12-05.
  3. tonic-clonic seizure หรือ grand mal seizure เป็นการชักทั่วสมองอย่างหนึ่ง ที่เกิดขึ้นกับคนไข้โรคลมชักและโรคที่ทำให้เกิดการชักอื่น ๆ โดยมาก แต่ไม่ใช่เป็นการชักประเภทเดียวที่มีอยู่ เป็นการชักที่อาจทำให้เกิดขึ้นโดยจงใจในการรักษาโดยใช้ electroconvulsion therapy
  4. ภายใต้ปัญหาชีวิตต่าง ๆ เหล่านี้ เขาเล่นเกมปริศนาต่าง ๆ (เต็มหนังสือ) เล่มแล้วเล่มเล่า ซึ่งเป็นนิสัยที่เขามีตั้งแต่เป็นเด็กวัยรุ่นในเบื้องปลายชีวิตของเขา เขาได้เก็บสมุดปริศนาอักษรไขว้พร้อมกับปากกาไว้ใกล้ ๆ ตัวตลอดเวลา ในตะกร้าที่ติดอยู่ที่อุปกรณ์ช่วยเดินของเขา ---จาก "The Man Who Couldn't Remember". NOVA scienceNOW. June 1, 2009. สืบค้นเมื่อ 2010-12-09.

ใกล้เคียง

เฮนรี กุสตาฟ โมไลสัน เฮนรี อานิเยร์ เฮนรี แควิลล์ เฮนรี อาลาบาศเตอร์ เฮนรี จอร์จ เฮนรี สแตฟฟอร์ด ดยุกที่ 2 แห่งบักกิงแฮม เฮนรี คิสซินเจอร์ เฮนรี หลิว เฮนรี เดวิด ทอโร เฮนรียุวกษัตริย์

แหล่งที่มา

WikiPedia: เฮนรี กุสตาฟ โมไลสัน http://www.nytimes.com/2008/12/05/us/05hm.html http://www.wired.com/wiredscience/2014/01/hm-brain... http://thebrainobservatory.ucsd.edu/ http://brainconnection.positscience.com/topics/?ma... http://www.npr.org/templates/story/story.php?story... http://thebrainobservatory.ucsd.edu/hm_live.php http://www.bbc.co.uk/programmes/b00t6zqv http://www.brainconnection.com/topics/?main=fa/hm-... https://web.archive.org/web/20080209192921/http://... http://www.jneurosci.org/content/17/10/3964.short